สถานที่ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก , สถานที่ีในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก , ที่ตั้งสถานที่ , พระราชพิธีบรมราชาภิเษก , รัชกาลที่ 10 , สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร , พระราชพิธีบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 10 , ในหลวงรัชกาลที่ 10 , ราชวงศ์จักรี , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องต้น , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องกลาง , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องปลาย , วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร , วัดพระศรีรัตนศาสดาราม , ปราสาทพระเทพบิดร , หมู่พระมหามณเฑียร , พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน , พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท , พระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท , วัดบวรนิเวศวิหาร , วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร , วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม , พระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท , พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท

10 สถานที่ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก กับความเป็นมาในประวัติศาสตร์ไทย

Alternative Textaccount_circle
event
สถานที่ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก , สถานที่ีในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก , ที่ตั้งสถานที่ , พระราชพิธีบรมราชาภิเษก , รัชกาลที่ 10 , สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร , พระราชพิธีบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 10 , ในหลวงรัชกาลที่ 10 , ราชวงศ์จักรี , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องต้น , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องกลาง , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องปลาย , วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร , วัดพระศรีรัตนศาสดาราม , ปราสาทพระเทพบิดร , หมู่พระมหามณเฑียร , พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน , พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท , พระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท , วัดบวรนิเวศวิหาร , วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร , วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม , พระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท , พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
สถานที่ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก , สถานที่ีในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก , ที่ตั้งสถานที่ , พระราชพิธีบรมราชาภิเษก , รัชกาลที่ 10 , สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร , พระราชพิธีบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 10 , ในหลวงรัชกาลที่ 10 , ราชวงศ์จักรี , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องต้น , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องกลาง , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องปลาย , วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร , วัดพระศรีรัตนศาสดาราม , ปราสาทพระเทพบิดร , หมู่พระมหามณเฑียร , พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน , พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท , พระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท , วัดบวรนิเวศวิหาร , วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร , วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม , พระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท , พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท

ย้อนรอย 10 สถานที่ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และความเกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ไทย  

10 สถานที่ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก กับความเป็นมาในประวัติศาสตร์ไทย

 

วัดสุทัศนเทพวราราม ราชวรมหาวิหาร

สถานที่ีในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก , ที่ตั้งสถานที่ , พระราชพิธีบรมราชาภิเษก , รัชกาลที่ 10 , สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร , พระราชพิธีบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 10 , ในหลวงรัชกาลที่ 10 , ราชวงศ์จักรี , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องต้น , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องกลาง , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องปลาย , วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร , วัดพระศรีรัตนศาสดาราม , ปราสาทพระเทพบิดร , หมู่พระมหามณเฑียร , พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน , พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท , พระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท , วัดบวรนิเวศวิหาร , วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร , วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม , พระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท , พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท

วัดสุทัศนเทพวราราม ราชวรมหาวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นเอกที่สร้างขึ้นสมัยต้นยุคกรุงรัตนโกสินทร์ และใช้เวลาสร้างยาวนานกว่า 30 ปี แรกเริ่มพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 ทรงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระอารามหลวงขึ้นเมื่อช่วงปีพ.ศ.2350 แต่ยังสร้างไม่เสร็จก็สิ้นรัชกาลก่อน จนมาถึงพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 ถึงเป็นอันแล้วเสร็จ (ปีพ.ศ.2390) และพระราชทานนามให้ว่า วัดสุทัศนเทพธาราม จากนั้นในสมัยรัชกาลที่ 4 ทรงเปลี่ยนชื่อเป็น วัดสุทัศนเทพวราราม

นอกจากนี้ วัดสุทัศนเทพวราราม ราชวรมหาวิหาร ยังถือเป็นวัดประจำรัชกาลที่ 8 ด้วย เนื่องจากทรงเสด็จมาสักการะพระศรีศากยมุนี (พระประธานในพระวิหารหลวงของวัดสุทัศนเทพวรารามที่ถูกเชิญมาประดิษฐานไว้ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1) และมีพระราชดำรัสว่า หากทรงผนวชจะเสด็จมาผนวชที่วัดนี้ และยังเป็นวัดที่ประดิษฐานพระบรมราชสรีรังคารของรัชกาลที่ 8 ด้วย

ในงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษกรัชกาลที่ 10 วัดสุทัศนเทพวราราม ราชวรมหาวิหารจะเป็นสถานที่ทำพิธีเสกน้ำอภิเษกที่รวบรวมมาจากทุกจังหวัดทั่วประเทศ ประกาศชุมนุมเทวดา ทำน้ำเทพมนต์ เจริญพระพุทธมนต์ ทำน้ำพระพุทธมนต์ ในวันที่ 18 เมษายน 2562

 

วัดพระศรีรัตนศาสดาราม

สถานที่ีในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก , ที่ตั้งสถานที่ , พระราชพิธีบรมราชาภิเษก , รัชกาลที่ 10 , สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร , พระราชพิธีบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 10 , ในหลวงรัชกาลที่ 10 , ราชวงศ์จักรี , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องต้น , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องกลาง , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องปลาย , วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร , วัดพระศรีรัตนศาสดาราม , ปราสาทพระเทพบิดร , หมู่พระมหามณเฑียร , พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน , พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท , พระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท , วัดบวรนิเวศวิหาร , วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร , วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม , พระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท , พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท

วัดพระศรีรัตนศาสดาราม หรืออีกชื่อที่คนทั่วไปเรียกกันคือ วัดพระแก้ว ซึ่งถือเป็นวัดที่มีความสำคัญอย่างมากกับราชวงศ์จักรี รวมไปถึงประชาชนชาวไทยทุกหมู่เหล่า โดยเป็นวัดที่สร้างขึ้นสมัยรัชกาลที่ 1 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นพร้อมกับการสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่ปีพ.ศ.2325 – 2327 และเป็นวัดที่ประดิษฐานพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร หรือที่เรียกกันว่า พระแก้วมรกต หลังจากสถาปนาแล้ว วัดพระศรีรัตนศาสดารามซึ่งถือว่าเป็นวัดสำคัญจึงได้รับการปฏิสังขรณ์ใหญ่ทุก 50 ปี คือ รัชกาลที่ 3, รัชกาลที่ 5, รัชกาลที่ 7 และรัชกาลที่ 9

สำหรับงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษก วัดพระศรีรัตนศาสดารามจะเป็นสถานที่จารึกพระสุพรรณบัฏ ดวงพระบรมราชสมภพ แกะพระราชลัญจกร และจารึกพระสุพรรณบัฏพระบรมวงศ์ในวันที่ 23 เมษายน 2562

 

หมู่พระมหามณเฑียร

สถานที่ีในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก , ที่ตั้งสถานที่ , พระราชพิธีบรมราชาภิเษก , รัชกาลที่ 10 , สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร , พระราชพิธีบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 10 , ในหลวงรัชกาลที่ 10 , ราชวงศ์จักรี , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องต้น , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องกลาง , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องปลาย , วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร , วัดพระศรีรัตนศาสดาราม , ปราสาทพระเทพบิดร , หมู่พระมหามณเฑียร , พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน , พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท , พระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท , วัดบวรนิเวศวิหาร , วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร , วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม , พระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท , พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท

หมู่พระมหามณเฑียร เป็นหมู่พระที่นั่งในพระบรมมหาราชวัง ถูกสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 1 (พ.ศ.2325) เพื่อใช้ในพระราชพิธีปราบดาภิเษกและประทับอยู่ตลอดรัชกาล และทรงใช้ชื่อว่า พระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน กระทั่งรัชกาลที่ 3 ทรงเปลี่ยนชื่อให้มีความคล้องจองกันมากขึ้นคือ พระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน พระที่นั่งไพศาลทักษิณ และพระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน ซึ่งพระที่นั่งทั้ง 3 แห่งนี้จะถูกใช้เป็นสถานที่ประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกทั้งหมด โดยถือเป็นพระที่นั่งหมู่แรกที่สร้างขึ้นในพระบรมมหาราชวัง

สถานที่ีในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก , ที่ตั้งสถานที่ , พระราชพิธีบรมราชาภิเษก , รัชกาลที่ 10 , สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร , พระราชพิธีบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 10 , ในหลวงรัชกาลที่ 10 , ราชวงศ์จักรี , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องต้น , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องกลาง , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องปลาย , วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร , วัดพระศรีรัตนศาสดาราม , ปราสาทพระเทพบิดร , หมู่พระมหามณเฑียร , พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน , พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท , พระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท , วัดบวรนิเวศวิหาร , วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร , วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม , พระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท , พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท

3 พระที่นั่งของหมู่พระมหามณเฑียรจะถูกใช้ประกอบพิธีที่แตกต่างกันไป ดังนี้

พระที่นั่งไพศาลทักษิณใช้ประกอบพิธีบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ในวันที่ 2 พฤษภาคม 2562 และ การเชิญพระสุพรรณบัฎ ดวงพระราชสมภพ และพระราชลัญจกร ในวันที่ 3 พฤษภาคม 2562

พระที่นั่งจักรพรรดิพิมานจะใช้ประกอบพิธีสรงมุรธาภิเษก วันที่ 4 พฤษภาคม 2562 เวลา 10.09 – 12.00 น.

พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมานจะเป็นสถานที่ในหลวงรัชกาลที่ 10 เสด็จออกมหาสมาคมรับการถวายพระพรชัยมงคลในวันที่ 4 พฤษภาคม 2562 เวลา 14.00 น.

 

พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท

สถานที่ีในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก , ที่ตั้งสถานที่ , พระราชพิธีบรมราชาภิเษก , รัชกาลที่ 10 , สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร , พระราชพิธีบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 10 , ในหลวงรัชกาลที่ 10 , ราชวงศ์จักรี , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องต้น , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องกลาง , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องปลาย , วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร , วัดพระศรีรัตนศาสดาราม , ปราสาทพระเทพบิดร , หมู่พระมหามณเฑียร , พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน , พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท , พระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท , วัดบวรนิเวศวิหาร , วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร , วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม , พระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท , พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท

พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท เป็นพระที่นั่งที่ตั้งอยู่เขตพระราชฐานชั้นกลางในพระบรมมหาราชวัง และถูกสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 1 เมื่อปีพ.ศ.2332 เพื่อทดแทนพระที่นั่งอมรินทราภิเษกมหาปราสาทที่ถูกไฟไม้จนหมดจากการถูกฟ้าผ่า ต่อมาถูกใช้เป็นที่ประดิษฐานพระบรมศพและพระศพจนเป็นธรรมเนียมของราชวงศ์จักรี

ความพิเศษของพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทยังมีชื่อเสียงอย่างมากในเรื่องความวิจิตรงดงาม และเป็นพระที่นั่งทรงไทยแท้องค์เดียวในพระบรมมหาราชวัง ยิ่งไปกว่านั้นยังได้รับการยกย่องให้เป็นสถาปัตยกรรมชั้นเอกของกรุงรัตนโกสินทร์อีกด้วย

ในวันที่ 4 พฤษภาคม 2562 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 10 จะเสด็จถวายบังคม สดับปกรณ์พระบรมอัฐิ และพระอัฐิสมเด็จพระบรมราชบุพการีที่พระที่นั่งนี้

 

พระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท

สถานที่ีในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก , ที่ตั้งสถานที่ , พระราชพิธีบรมราชาภิเษก , รัชกาลที่ 10 , สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร , พระราชพิธีบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 10 , ในหลวงรัชกาลที่ 10 , ราชวงศ์จักรี , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องต้น , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องกลาง , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องปลาย , วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร , วัดพระศรีรัตนศาสดาราม , ปราสาทพระเทพบิดร , หมู่พระมหามณเฑียร , พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน , พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท , พระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท , วัดบวรนิเวศวิหาร , วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร , วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม , พระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท , พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท

พระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 เป็นพระที่นั่งโถงทรงปราสาทจตุรมุข ตั้งอยู่ระหว่างพระที่นั่งจักรีมหาปราสาทกับพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ใช้เป็นพลับพลาสำหรับประทับพระราชยานรับส่งเสด็จ เมื่อเสด็จฯ เลียบพระนครโดยกระบวนพยุหยาตราสถลมารค และใช้ประกอบพระราชพิธีโสกันต์ (โกนจุก) ด้วย

ในวันที่ 5 พฤษภาคม 2562 พระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาทก็จะถูกใช้เป็นจุดเริ่มต้นที่ในหลวงรัชกาลที่ 10 เสด็จพระราชดำเนินเลียบพระนครโดยขบวนพยุหยาตรา ทางสถลมารค

 

วัดบวรนิเวศวิหาร

สถานที่ีในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก , ที่ตั้งสถานที่ , พระราชพิธีบรมราชาภิเษก , รัชกาลที่ 10 , สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร , พระราชพิธีบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 10 , ในหลวงรัชกาลที่ 10 , ราชวงศ์จักรี , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องต้น , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องกลาง , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องปลาย , วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร , วัดพระศรีรัตนศาสดาราม , ปราสาทพระเทพบิดร , หมู่พระมหามณเฑียร , พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน , พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท , พระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท , วัดบวรนิเวศวิหาร , วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร , วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม , พระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท , พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท

วัดบวรนิเวศวิหาร เป็นวัดชั้นเอกชนิดราชวรวิหารที่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 3 เดิมทีวัดบวรนิเวศวิหารเป็นวัดที่อยู่ติดกับวัดรังษีสุทธาวาส แต่ภายหลังถูกรวมเป็นวัดเดียวกัน วัดบวรนิเวศวิหารถือเป็นอีกหนึ่งวัดที่มีความสำคัญต่อราชวงศ์จักรี เนื่องจากเป็นวัดที่เคยเป็นที่ประทับของรัชกาลที่ 4, รัชกาลที่ 6, รัชกาลที่ 7, รัชกาลที่ 9 และรัชกาลที่ 10 เมื่อครั้งทรงผนวชด้วย

นอกจากนี้ยังเป็นที่ประทับของสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก และเป็นที่ตั้งของมหามกุฏราชวิทยาลัย ซึ่งก็คือสถานศึกษาชั้นสูงของคณะสงฆ์ ที่ภายหลังถูกเปลี่ยนเป็นมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

วัดบวรนิเวศวิหารจะเป็นอีกหนึ่งสถานที่ในการเสด็จพระราชดำเนินเลียบพระนคร โดยขบวนพยุหยาตราทางสถลมารค เช่นเดียวกับพระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท

 

วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร

สถานที่ีในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก , ที่ตั้งสถานที่ , พระราชพิธีบรมราชาภิเษก , รัชกาลที่ 10 , สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร , พระราชพิธีบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 10 , ในหลวงรัชกาลที่ 10 , ราชวงศ์จักรี , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องต้น , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องกลาง , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องปลาย , วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร , วัดพระศรีรัตนศาสดาราม , ปราสาทพระเทพบิดร , หมู่พระมหามณเฑียร , พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน , พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท , พระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท , วัดบวรนิเวศวิหาร , วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร , วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม , พระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท , พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท

วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม แปลได้ว่า วัดที่พระมหากษัตริย์ทรงสร้าง ซึ่งมีประวัติความเป็นมาตรงกับชื่อเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นวัดที่รัชกาลที่ 5 ทรงสร้างขึ้นเมื่อปีพ.ศ.2412 และถือเป็นวัดประจำรัชกาลด้วย (เป็นวัดสุดท้ายที่พระมหากษัตริย์ทรงสร้างขึ้นตามโบราณราชประเพณีที่มีการสร้างวัดประจำรัชกาล)​ โดยสร้างให้มีลักษณะผสมระหว่างสถาปัตยกรรมไทยกับสถาปัตยกรรมตะวันตกคือ ภายนอกออกแบบเป็นสถาปัตยกรรมไทย ส่วนภายในเป็นสไตล์ตะวันตก นอกจากนี้ภายในวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามยังมีสุสานหลวงที่รัชกาลที่ 5 ทรงให้สร้างขึ้นเพื่อบรรจุพระอัฐิ และพระสรีรางคารของพระบรมวงศานุวงศ์ในรัชกาลที่ 5 ด้วย

วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารจะเป็นอีกหนึ่งสถานที่ในการเสด็จพระราชดำเนินเลียบพระนคร โดยขบวนพยุหยาตราทางสถลมารค เช่นเดียวกับพระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาทและวัดบวรนิเวศวิหารในวันที่ 5 พฤษภาคม 2562

 

วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม

สถานที่ีในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก , ที่ตั้งสถานที่ , พระราชพิธีบรมราชาภิเษก , รัชกาลที่ 10 , สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร , พระราชพิธีบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 10 , ในหลวงรัชกาลที่ 10 , ราชวงศ์จักรี , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องต้น , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องกลาง , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องปลาย , วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร , วัดพระศรีรัตนศาสดาราม , ปราสาทพระเทพบิดร , หมู่พระมหามณเฑียร , พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน , พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท , พระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท , วัดบวรนิเวศวิหาร , วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร , วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม , พระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท , พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท

วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม หรือที่เรียกกันในชื่อ วัดโพธิ์ เป็นวัดประจำรัชกาลที่ 1 และเป็นที่บรรจุพระบรมอัฐิของพระองค์ท่านด้วย ซึ่งถูกสถาปนามาจากวัดโพธาราม วัดเก่าสมัยกรุงศรีอยุธยาที่ติดอยู่ทางทิศใต้ของพระบรมมหาราชวังเมื่อปีพ.ศ.2331 โดยใช้เวลายาวนานกว่า 7 ปี จากนั้นได้มีการปฏิสังขรณ์ใหญ่อีกครั้งในสมัยรัชกาลที่ 3 ครั้งนี้ใช้เวลายาวนานกว่า 16 ปี โดยมีการขยายอาณาเขต และสถาปนาพระมณฑป ศาสลาการเปรียญ และอื่นๆ ขึ้นใหม่ อย่างที่เห็นกันในปัจจุบัน

วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามจะเป็นอีกหนึ่งสถานที่ในการเสด็จพระราชดำเนินเลียบพระนคร โดยขบวนพยุหยาตราทางสถลมารค เช่นเดียวกับพระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท วัดบวรนิเวศวิหาร และวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารในวันที่ 5 พฤษภาคม 2562

 

พระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท

สถานที่ีในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก , ที่ตั้งสถานที่ , พระราชพิธีบรมราชาภิเษก , รัชกาลที่ 10 , สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร , พระราชพิธีบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 10 , ในหลวงรัชกาลที่ 10 , ราชวงศ์จักรี , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องต้น , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องกลาง , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องปลาย , วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร , วัดพระศรีรัตนศาสดาราม , ปราสาทพระเทพบิดร , หมู่พระมหามณเฑียร , พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน , พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท , พระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท , วัดบวรนิเวศวิหาร , วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร , วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม , พระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท , พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท

พระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท ตั้งอยู่บนกำแพงพระบรมมหาราชวังด้านทิศตะวันออก ถูกสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 1 เมื่อปีพ.ศ. 2327 ใช้ชื่อเรียกว่า พลับพลาสูง สร้างขึ้นเพื่อประทับทอดพระเนตรกระบวนแห่ในพระราชพิธีสรงสนานใหญ่ และการฝึกช้าง ต่อมารัชกาลที่ 3 ได้ทำการปฏิสังขรณ์ใหม่เป็นปราสาท พระราชทานนามว่า พระที่นั่งสุทธาสวรรย์ ไม่นานก็ถูกเปลี่ยนชื่อใหม่อีกครั้งเป็น พระที่นั่งสุทไธสวรรย์ โดยรัชกาลที่ 4 เพื่อใช้เป็นที่ทรงบำเพ็ญพระราชกุศล และทอดพระเนตรพิธีสวนสนามของทหาร จากนั้นพระที่นั่งองค์นี้ก็กลายเป็นที่เสด็จออกมหาสมาคมให้ประชาชนเฝ้าฯ ในโอกาสต่างๆ อย่างเช่น พระราชพิธีบรมราชาภิเษกรัชกาลที่ 9 เมื่อปีพ.ศ.2493 และพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของรัชกาลที่ 10 ที่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรจะเสด็จออกสีหบัญชร ณ พระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท ให้ประชาชนเฝ้าฯ ถวายพระพรชัยมงคลในวันที่ 6 พฤษภาคม 2562 เวลา 16.30 น.

 

พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท

สถานที่ีในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก , ที่ตั้งสถานที่ , พระราชพิธีบรมราชาภิเษก , รัชกาลที่ 10 , สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร , พระราชพิธีบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 10 , ในหลวงรัชกาลที่ 10 , ราชวงศ์จักรี , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องต้น , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องกลาง , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องปลาย , วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร , วัดพระศรีรัตนศาสดาราม , ปราสาทพระเทพบิดร , หมู่พระมหามณเฑียร , พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน , พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท , พระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท , วัดบวรนิเวศวิหาร , วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร , วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม , พระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท , พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท

พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท เป็นหนึ่งในหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาทที่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 เพื่อใช้เป็นสถานที่ออกว่าราชการและเป็นที่ประทับส่วนพระองค์ มีทั้งหมด 11 องค์ แต่ภายหลังเกิดความทรุมโทรม และบางองค์ยากต่อการบูรณะ ปัจจุบันจึงเหลือทั้งหมด 5 องค์ด้วยกันคือ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท พระที่นั่งมูลสถานบรมอาสน์ พระที่นั่งสมมติเทวราชอุปบัติ พระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬาร และพระที่นั่งเทวารัณยสถาน

สิ่งที่ทำให้พระที่นั่งจักรีมหาปราสาทโดดเด่นกว่าพระที่นั่งอื่นๆ ไม่ใช่เพียงเพราะเป็นพระที่นั่งเดียวที่เหลืออยู่จากสมัยของรัชกาลที่ 5 เท่านั้น แต่ยังเป็นพระที่นั่งที่ผสมผสานระหว่างตัวอาคารที่เป็นสไตล์ยุโรป แต่หลังคาเป็นแบบไทย จนได้รับการขนานนามว่า “ฝรั่งสวมชฎา”

สถานที่ีในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก , ที่ตั้งสถานที่ , พระราชพิธีบรมราชาภิเษก , รัชกาลที่ 10 , สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร , พระราชพิธีบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 10 , ในหลวงรัชกาลที่ 10 , ราชวงศ์จักรี , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องต้น , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องกลาง , พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเบื้องปลาย , วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร , วัดพระศรีรัตนศาสดาราม , ปราสาทพระเทพบิดร , หมู่พระมหามณเฑียร , พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน , พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท , พระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท , วัดบวรนิเวศวิหาร , วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร , วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม , พระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท , พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท

ในวันที่ 6 พฤษภาคม 2562 เวลา 17.30 น. สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรจะเสด็จออกพระที่นั่งจักรีมหาปราสาทให้ทูตานุทูตและกงสุลต่างประเทศเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทถวายพระพรชัยมงคล

 

เรียบเรียงข้อมูลจาก phralan.in.th / phuttha.com / th.wikipedia.org / dhammathai.org / rspg.org / kanchanapisek.or.th

รูปจาก : Supanut Arunoprayote / th.wikipedia.org /  valuablebook2.tkpark.or.th /  dhammathai.org / sac.or.th

เรื่องโดย : Lizhu

 

อ่านข่าวที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ได้ที่นี่

ตราสัญลักษณ์ที่ถูกต้องสำหรับพระราชพิธีบรมราชาภิเษก

การแต่งกายในงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษก สำหรับประชาชนทั่วไป

ความเป็นมาของพระราชพิธีบรมราชาภิเษก และการสืบทอดราชประเพณีในสมัยรัตนโกสินทร์

หมายกำหนดการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ครอบคลุมช่วงต้น – ช่วงกลาง – ช่วงปลาย

สุดสัปดาห์

keyboard_arrow_up